ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD) (การออกแบบวิชาที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา) ที่จัดขึ้นที่ห้องนวัตกรรมการเรียนรู้ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 17-19 กรกฎาคม 2567
.
The following is the class ambiance during the training session of ‘Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD)’ at Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai, during July 17-19, 2024. During this two-and-a-half-day training, learners constructed their knowledge of LEF-CDD’s course design process. Using an instructional design tool called ‘Student Learning Journey,’ learners practiced designing class activities aligned with how the human brain functions to support student learning.
.
.
.
โดยหัวใจหลักของ LEF-CDD คือ ประสบการณ์ของผู้เรียนและการเสริมสร้างให้ไปในทิศทางเดียวกัน (Constructive Alignment) ขององค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะค่อยๆถูกกำหนดและออกแบบ อ้างอิงตามโมเดลทางการศึกษา เช่น Bloom’s Taxonomy และโมเดลอื่นๆ เช่น Kolb’s Experiential Learning Cycle จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ โมเดลสำหรับการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบประสบการณ์ของผู้เรียน (LOVE-Based Teaching & Learning Methods) รวมถึงองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกียวข้องกับการเรียนรู้และการทำงานของสมอง และการสร้างการมีส่วนรวมของผู้เรียนในระดับต่างๆ
.
This module’s key is constructive alignment and learning experience. Several models, such as Bloom’s Taxonomy, Kolb’s Experiential Learning Cycle, and LOVE-Based Teaching and Learning Methods, are also used to ensure each course component is aligned with each other and specified properly.
.
Designed Student Learning Experience Journeys from the 5 groups:
.
.
———————–
หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดโดย [Module developers and instructors]
รศ. ดร.พิสุทธิ์ ขุมทรัพย์ และ ดร.ดวงธิดา หัสดินทร ณ อยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย) [Assoc. Prof. Pisut Koomsap and Dr. Duangthida Hussadintorn Na Ayutthaya, Asian Institute of Technology]