🎉Our IMI Class at UBRU 😀

โดยผู้เข้าอบรมได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการจัดการอุตสาหกรรม 4.0 ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ Lego เป็นสื่อในการเรียน
.
The following photos capture our training activities for the Industrial Management in Industry 4.0 Era (IMI) module took place at Ubon Ratchathani Rajabhat University, Ubon Ratchathani during November 7 – 8, 2024. Learners engaged in several activities, including LEGO activities, to develop the necessary knowledge and skills to help local businesses. Topics included in the training are listed below.
.
หัวข้อในการฝึกอบรม มีดังนี้
🔶 Industrial Management (IM)
🔶 Industry 4.0 (I4.0)
🔶 Agile Project Management
🔶 Business Process Modelling (BPM)
🔶 Leveraging Real-Time Data for Industrial Management Processes
🔶 Project for the Analysis of Industry 4.0 Maturity in Industrial Management
ซึ่งทักษะและองค์ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อมในท้องถิ่นได้
.
.
🔸ผู้สอน [Module Instructor] 🔸
✨ ผศ.ดร. ทวี นาครัชตะอมร มหาวิทยาลัยขอนแก่น [Asst. Prof. Thawee Nakrachata-amon, Khon Kaen University]
✨ ผศ. ดร.สิรวิชญ์ สว่างนพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ [Asst. Prof. Siravit Swangnop, King Mongkut’s University of Technology North Bangkok]
.
🔸หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาโดย [Module Developers] 🔸
✨ Dr. Rui Lima, Dr. Rui Sousa, Dr. Bruno Gonçalves and Erik Lopes
University of Minho, Portugal 🇵🇹

 

🟦🔹Our LEF-CDD class at CPRU this week 🔹🟦

🎞 ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD) (การออกแบบวิชาที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา) ที่จัดขึ้น ณ ห้องเรียนต้นแบบในศตวรรษที่ 21 อาคารเรียนคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ระหว่างวันที่ 11-12 กันยายน ที่ผ่านมา

The following is the class ambiance during the training session of ‘Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD)’ at the prototype classroom for 21st century learners and teachers, Faculty of Liberal Arts and Sciences, Chaiyaphum Rajabhat University, Chaiyaphum, during September, 11-12, 2024. During this two-day training, learners constructed their knowledge of LEF-CDD’s course design process. Using an instructional design tool called ‘Student Learning Journey,’ learners practiced designing class activities aligned with how the human brain functions to support student learning.
.
.
🧡โดยหัวใจหลักของ LEF-CDD คือ ประสบการณ์ของผู้เรียนและการเสริมสร้างให้ไปในทิศทางเดียวกัน (Constructive Alignment) ขององค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะค่อยๆถูกกำหนดและออกแบบ อ้างอิงตามโมเดลทางการศึกษา เช่น Bloom’s Taxonomy และโมเดลอื่นๆ เช่น Kolb’s Experiential Learning Cycle จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ โมเดลสำหรับการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบประสบการณ์ของผู้เรียน (LOVE-Based Teaching & Learning Methods) รวมถึงองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกียวข้องกับการเรียนรู้และการทำงานของสมอง และการสร้างการมีส่วนรวมของผู้เรียนในระดับต่างๆ
.

This module’s key is constructive alignment and learning experience. Several models, such as Bloom’s Taxonomy, Kolb’s Experiential Learning Cycle, and LOVE-Based Teaching and Learning Methods, are also used to ensure each course component is aligned with each other and specified properly.

.

Designed Student Learning Experience Journeys from the 3 groups:

.

ในการจัดการฝึกอบรมครั้งนี้ ทางโครงการขอขอบคุณ ผศ.ดร.สิริศักดิ์ อาจวิชัย (คณบดี), อ.วราภรณ์ จันทร์เวียง, อ.ดร.รจนา เมืองแสน และทีมงานทุกท่าน สำหรับการดำเนินการจัดงานและการต้อนรับอย่างอบอุ่น😊
.
For this occasion, we would like to sincerely thank Asst. Prof. Dr.Sirisak Ajwichai (Dean), Ms.Waraporn Chanwiang, Dr.Rojjana Muangsan and the whole team for the well arrangement and warm hospitality. 😊
———————–
✨หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดโดย [Module developers and instructors]
รศ. ดร.พิสุทธิ์ ขุมทรัพย์ และ ดร.ดวงธิดา หัสดินทร ณ อยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย) [Assoc. Prof. Pisut Koomsap and Dr. Duangthida Hussadintorn Na Ayutthaya, Asian Institute of Technology]
———————–
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้ได้ที่นี่ https://sites.google.com/view/recap4-lefcdd/home

🟦🔹Our LEF-CDD class at SU last week 🔹🟦

🎞 ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD) (การออกแบบวิชาที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา) ที่จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ระหว่างวันที่ 6-8 กันยายน 2567 

The following is the class ambiance during the training session of ‘Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD)’ at Silpakorn University, Sanam Chandra Palace Campus, Nakhon Pathom, during September, 6-8, 2024. During this two-and-a-half-day training, learners constructed their knowledge of LEF-CDD’s course design process. Using an instructional design tool called ‘Student Learning Journey,’ learners practiced designing class activities aligned with how the human brain functions to support student learning.
🧡โดยหัวใจหลักของ LEF-CDD คือ ประสบการณ์ของผู้เรียนและการเสริมสร้างให้ไปในทิศทางเดียวกัน (Constructive Alignment) ขององค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะค่อยๆถูกกำหนดและออกแบบ อ้างอิงตามโมเดลทางการศึกษา เช่น Bloom’s Taxonomy และโมเดลอื่นๆ เช่น Kolb’s Experiential Learning Cycle จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ โมเดลสำหรับการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบประสบการณ์ของผู้เรียน (LOVE-Based Teaching & Learning Methods) รวมถึงองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกียวข้องกับการเรียนรู้และการทำงานของสมอง และการสร้างการมีส่วนรวมของผู้เรียนในระดับต่างๆ
.

This module’s key is constructive alignment and learning experience. Several models, such as Bloom’s Taxonomy, Kolb’s Experiential Learning Cycle, and LOVE-Based Teaching and Learning Methods, are also used to ensure each course component is aligned with each other and specified properly.

.

Designed Student Learning Experience Journeys from the 3 groups:

.
ในการจัดการฝึกอบรมครั้งนี้ ทางโครงการขอขอบคุณ ผศ.ดร.วรฤทัย ชูเทียร (รักษาการรองคณบดี) และทีมงานทุกท่าน สำหรับการดำเนินการจัดงานและการต้อนรับอย่างอบอุ่น 😊
.
For this occasion, we would like to sincerely thank Asst. Prof. Dr. Woraruthai Choothian (Acting for Deputy Dean) and the whole team for the well arrangement and warm hospitality. 😊
———————–
✨หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดโดย [Module developers and instructors]
รศ. ดร.พิสุทธิ์ ขุมทรัพย์ และ ดร.ดวงธิดา หัสดินทร ณ อยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย) [Assoc. Prof. Pisut Koomsap and Dr. Duangthida Hussadintorn Na Ayutthaya, Asian Institute of Technology]
———————–
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้ได้ที่นี่ https://sites.google.com/view/recap4-lefcdd/home

🟦🔹Our LEF-CDD class at LPRU last week 🔹🟦

🎞 ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD) (การออกแบบวิชาที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา) ที่จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง จังหวัดลำปาง ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2567

.
The following is the class ambiance during the training session of ‘Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD)’ at Lampang Rajabhat University, Lampang, during August 16-18, 2024. During this two-and-a-half-day training, learners constructed their knowledge of LEF-CDD’s course design process. Using an instructional design tool called ‘Student Learning Journey,’ learners practiced designing class activities aligned with how the human brain functions to support student learning.
.
.
🧡โดยหัวใจหลักของ LEF-CDD คือ ประสบการณ์ของผู้เรียนและการเสริมสร้างให้ไปในทิศทางเดียวกัน (Constructive Alignment) ขององค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะค่อยๆถูกกำหนดและออกแบบ อ้างอิงตามโมเดลทางการศึกษา เช่น Bloom’s Taxonomy และโมเดลอื่นๆ เช่น Kolb’s Experiential Learning Cycle จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ โมเดลสำหรับการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบประสบการณ์ของผู้เรียน (LOVE-Based Teaching & Learning Methods) รวมถึงองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้และการทำงานของสมอง และการสร้างการมีส่วนรวมของผู้เรียนในระดับต่างๆ
.

This module’s key is constructive alignment and learning experience. Several models, such as Bloom’s Taxonomy, Kolb’s Experiential Learning Cycle, and LOVE-Based Teaching and Learning Methods, are also used to ensure each course component is aligned with each other and specified properly.

.

Designed Student Learning Experience Journeys from the 3 groups:

ในการจัดการฝึกอบรมครั้งนี้ ทางโครงการขอขอบคุณ ผศ.ศุภวุฒิ ผากา (คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม) และทีมงานทุกท่าน สำหรับการดำเนินการจัดงานและการต้อนรับอย่างอบอุ่น😊
.
For this occasion, we would like to sincerely thank Assoc.Prof. Suphawut Paka (Dean of Faculty of Industrial Technology) and the whole team for the well arrangement and warm hospitality. 😊
———————–
✨หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดโดย [Module developers and instructors]
รศ. ดร.พิสุทธิ์ ขุมทรัพย์ และ ดร.ดวงธิดา หัสดินทร ณ อยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย) [Assoc. Prof. Pisut Koomsap and Dr. Duangthida Hussadintorn Na Ayutthaya, Asian Institute of Technology]
———————–
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้ได้ที่นี่ https://sites.google.com/view/recap4-lefcdd/home

🟦🔹Our LEF-CDD class at CRRU last week 🔹🟦

🎞 ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD) (การออกแบบวิชาที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา) ที่จัดขึ้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จังหวัดเชียงราย ระหว่างวันที่ 3-4 สิงหาคม 2567

.
The following is the class ambiance during the training session of ‘Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD)’ at Chiang Rai Rajabhat University, Chiang Rai, during August 3-4, 2024. During this two-day training, learners constructed their knowledge of LEF-CDD’s course design process. Using an instructional design tool called ‘Student Learning Journey,’ learners practiced designing class activities aligned with how the human brain functions to support student learning.
.
.
.
🧡โดยหัวใจหลักของ LEF-CDD คือ ประสบการณ์ของผู้เรียนและการเสริมสร้างให้ไปในทิศทางเดียวกัน (Constructive Alignment) ขององค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะค่อยๆถูกกำหนดและออกแบบ อ้างอิงตามโมเดลทางการศึกษา เช่น Bloom’s Taxonomy และโมเดลอื่นๆ เช่น Kolb’s Experiential Learning Cycle จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ โมเดลสำหรับการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบประสบการณ์ของผู้เรียน (LOVE-Based Teaching & Learning Methods) รวมถึงองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกียวข้องกับการเรียนรู้และการทำงานของสมอง และการสร้างการมีส่วนรวมของผู้เรียนในระดับต่างๆ
.

This module’s key is constructive alignment and learning experience. Several models, such as Bloom’s Taxonomy, Kolb’s Experiential Learning Cycle, and LOVE-Based Teaching and Learning Methods, are also used to ensure each course component is aligned with each other and specified properly.

.

Designed Student Learning Experience Journeys from the 3 groups:

.

ในการจัดการฝึกอบรมครั้งนี้ ทางโครงการขอขอบคุณ รศ. ดร.ไพโรจน์ ด้วงนคร (รองอธิการบดี), ผศ.ดร.วัชระ วัธนารวี, ผศ. ดร.จรัญ คนแรง, ผศ.ขวัญเรือน สินณรงค์ และทีมงานทุกท่าน สำหรับการดำเนินการจัดงานและการต้อนรับอย่างอบอุ่น😊
.
For this occasion, we would like to sincerely thank Assoc.Prof.Dr. Pairot Duangnakorn (Vice President), Asst.Prof.Dr. Watchara Watanarawee, Asst.Prof.Dr. Jarun Khonrang, and Asst.Prof. Kwanruan Sinnarong and the whole team for the well arrangement and warm hospitality. 😊
———————–
✨หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดโดย [Module developers and instructors]
รศ. ดร.พิสุทธิ์ ขุมทรัพย์ และ ดร.ดวงธิดา หัสดินทร ณ อยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย) [Assoc. Prof. Pisut Koomsap and Dr. Duangthida Hussadintorn Na Ayutthaya, Asian Institute of Technology]
———————–
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้ได้ที่นี่ https://sites.google.com/view/recap4-lefcdd/home

🎉Our IMI Class at PSU this week 😀

ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ ‘Industrial Management in Industry 4.0 Era’ จัดขึ้นที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและการผลิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2567 โดยผู้เข้าอบรมได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการจัดการอุตสาหกรรม 4.0 ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ Lego เป็นสื่อในการเรียน
.
The following photos capture our training activities for the Industrial Management in Industry 4.0 Era (IMI) module at Department of Industrial and Manufacturing Engineering, Prince of Songkla University from July 24-26, 2024. Learners engaged in several activities, including LEGO activities, to develop the necessary knowledge and skills to help local businesses. Topics included in the training are listed below.
.
หัวข้อในการฝึกอบรม มีดังนี้
🔶 Industrial Management (IM)
🔶 Industry 4.0 (I4.0)
🔶 Agile Project Management
🔶 Business Process Modelling (BPM)
🔶 Leveraging Real-Time Data for Industrial Management Processes
🔶 Project for the Analysis of Industry 4.0 Maturity in Industrial Management
ซึ่งทักษะและองค์ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อมในท้องถิ่นได้
.
🔸ผู้สอน [Module Instructor] 🔸
✨ ผศ. ดร.ตวงยศ สุภีกิตย์ (มหาวิทยาลัยมหิดล) [Asst. Prof. Tuangyot Supeekit, Mahidol University]
✨ ผศ.ดร. ทวี นาครัชตะอมร (มหาวิทยาลัยขอนแก่น) [Asst. Prof. Thawee Nakrachata-amon, Khon Kaen University]
.
🔸หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาโดย [Module Developers] 🔸
✨ Dr. Rui Lima, Dr. Rui Sousa, Dr. Bruno Gonçalves and Erik Lopes
University of Minho, Portugal 🇵🇹
———————–

🟦🔹Our LEF-CDD class at MU this week 🔹🟦

🎞 ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD) (การออกแบบวิชาที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา) ที่จัดขึ้นที่ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (EGIE230) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 24-26 กรกฎาคม 2567

.
The following is the class ambiance during the training session of ‘Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD)’ at Room EGIE230, Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering, Mahidol University, Salaya Campus, scheduled during July 24-26, 2024. During this two-and-a-half-day training, learners constructed their knowledge of LEF-CDD’s course design process. Using an instructional design tool called ‘Student Learning Journey,’ learners practiced designing class activities aligned with how the human brain functions to support student learning.
.
🧡 โดยหัวใจหลักของ LEF-CDD คือ ประสบการณ์ของผู้เรียนและการเสริมสร้างให้ไปในทิศทางเดียวกัน (Constructive Alignment) ขององค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะค่อยๆถูกกำหนดและออกแบบ อ้างอิงตามโมเดลทางการศึกษา เช่น Bloom’s Taxonomy และโมเดลอื่นๆ เช่น Kolb’s Experiential Learning Cycle จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ โมเดลสำหรับการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบประสบการณ์ของผู้เรียน (LOVE-Based Teaching & Learning Methods) รวมถึงองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกียวข้องกับการเรียนรู้และการทำงานของสมอง และการสร้างการมีส่วนรวมของผู้เรียนในระดับต่างๆ
.

This module’s key is constructive alignment and learning experience. Several models, such as Bloom’s Taxonomy, Kolb’s Experiential Learning Cycle, and LOVE-Based Teaching and Learning Methods, are also used to ensure each course component is aligned with each other and specified properly.

.

Designed Student Learning Experience Journeys from the 3 groups:

Group 1: กระบวนการผลิตเบียร์ผลไม้

Group 2: Work Study

Group 3: Engineering Economics

———————–
✨หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดโดย [Module developers and instructors]
รศ. ดร.พิสุทธิ์ ขุมทรัพย์ และ ดร.ดวงธิดา หัสดินทร ณ อยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย) [Assoc. Prof. Pisut Koomsap and Dr. Duangthida Hussadintorn Na Ayutthaya, Asian Institute of Technology]
———————–
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้ได้ที่นี่ https://sites.google.com/view/recap4-lefcdd/home

🟦🔹Our LEF-CDD class at RMUTL this week 🔹🟦

🎞 ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD) (การออกแบบวิชาที่มุ่งเน้นการสร้างประสบการณ์ให้กับนักศึกษา) ที่จัดขึ้นที่ห้องนวัตกรรมการเรียนรู้ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดเชียงใหม่ ระหว่างวันที่ 17-19 กรกฎาคม 2567

.
The following is the class ambiance during the training session of ‘Learning Experience-Focused Course Design and Development (LEF-CDD)’ at Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Mai, during July 17-19, 2024. During this two-and-a-half-day training, learners constructed their knowledge of LEF-CDD’s course design process. Using an instructional design tool called ‘Student Learning Journey,’ learners practiced designing class activities aligned with how the human brain functions to support student learning.
.
.
.
🧡 โดยหัวใจหลักของ LEF-CDD คือ ประสบการณ์ของผู้เรียนและการเสริมสร้างให้ไปในทิศทางเดียวกัน (Constructive Alignment) ขององค์ประกอบต่างๆ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบจะค่อยๆถูกกำหนดและออกแบบ อ้างอิงตามโมเดลทางการศึกษา เช่น Bloom’s Taxonomy และโมเดลอื่นๆ เช่น Kolb’s Experiential Learning Cycle จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์ โมเดลสำหรับการกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบประสบการณ์ของผู้เรียน (LOVE-Based Teaching & Learning Methods) รวมถึงองค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกียวข้องกับการเรียนรู้และการทำงานของสมอง และการสร้างการมีส่วนรวมของผู้เรียนในระดับต่างๆ
.

This module’s key is constructive alignment and learning experience. Several models, such as Bloom’s Taxonomy, Kolb’s Experiential Learning Cycle, and LOVE-Based Teaching and Learning Methods, are also used to ensure each course component is aligned with each other and specified properly.

.

Designed Student Learning Experience Journeys from the 5 groups:

.

.

———————–
✨หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดโดย [Module developers and instructors]
รศ. ดร.พิสุทธิ์ ขุมทรัพย์ และ ดร.ดวงธิดา หัสดินทร ณ อยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย) [Assoc. Prof. Pisut Koomsap and Dr. Duangthida Hussadintorn Na Ayutthaya, Asian Institute of Technology]

🎉Our IMI Class at MU Salaya 😀

ภาพบรรยากาศกิจกรรมระหว่างการฝึกอบรมภายใต้หัวข้อ ‘Industrial Management in Industry 4.0 Era’ ณ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ (EGIE230) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา) ระหว่างวันที่ 10-12 กรกฎาคม 2567 ที่ผ่านมา
โดยผู้เข้าอบรมได้รับการพัฒนาองค์ความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการจัดการอุตสาหกรรม 4.0 ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ Lego เป็นสื่อในการเรียน
.
The following photos capture our training activities for the Industrial Management in Industry 4.0 Era (IMI) module took place at Department of Industrial Engineering, Faculty of Engineering, Mahidol University (Salaya Campus) during July 10-12, 2024. Learners engaged in several activities, including LEGO activities, to develop the necessary knowledge and skills to help local businesses. Topics included in the training are listed below.
.
หัวข้อในการฝึกอบรม มีดังนี้
🔶 Industrial Management (IM)
🔶 Industry 4.0 (I4.0)
🔶 Agile Project Management
🔶 Business Process Modelling (BPM)
🔶 Leveraging Real-Time Data for Industrial Management Processes
🔶 Project for the Analysis of Industry 4.0 Maturity in Industrial Management
ซึ่งทักษะและองค์ความรู้ที่ได้รับสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดการสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อมในท้องถิ่นได้
.
.
.
🔸ผู้สอน [Module Instructor] 🔸
✨ ผศ.ดร. ทวี นาครัชตะอมร [Asst. Prof. Thawee Nakrachata-amon]
✨ อ. ดร.กฤษณรัช นิติสิริ [Dr. Krisanarach Nitisiri]
มหาวิทยาลัยขอนแก่น [Khon Kaen University]
.
🔸หัวข้อนี้ได้รับการพัฒนาโดย [Module Developers] 🔸
✨ Dr. Rui Lima, Dr. Rui Sousa, Dr. Bruno Gonçalves and Erik Lopes
University of Minho, Portugal 🇵🇹

📌A week-long program of visits in Ireland 🇮🇪

This week, we had the privilege of enlightening discussions with several academic professionals from the National Forum, Technological University Dublin, University of Limerick, Munster Technological University, and Mary Immaculate College. The insights and successes we learned from them will be instrumental in supporting the establishment of our center. We also had the opportunity to observe a CPD summer course on robotics for teachers at MIC, addressing the need for the next generations to be equipped with knowledge of new technology from an early age. Aside from that, we were delighted with an opportunity to have a brief tour to learn about the history and development of the University of Limerick, established in 1972.
.
🔶 Who we met? 🔶
.
🔸1. Dr. Ross Woods, Senior Manager (in the middle), Teaching and Learning, Student Success, Health and Wellbeing, Higher Education Authority (HEA), National Forum for the Enhancement of Teaching and Learning
.
.
🔸2. Dr. Jen Harvey, Assistant Head (2nd from the right); Dr. Conor Mellon, Academic Developer (in the middle); Edel Gallagher, Academic Developer (2nd from the left), Learning, Teaching & Assessment, Technological University Dublin (https://www.tudublin.ie/…/academic-affairs/people/lta/)
.
.
🔸3. Dr. Mary Fitzpatrick (in the middle), Head, Centre for Transformative Learning (CTL), University of Limerick (https://www.ul.ie/ctl/dr-mary-fitzpatrick)
.
.
🔸4. Dr. Mike Wride (2nd from the right), Transformative Pedagogy Lead, Centre for Transformative Learning (CTL), University of Limerick (https://www.ul.ie/ctl/dr-michael-wride)
.
.
🔸5. Prof. Jim O’Mahony (in the middle), SFHEA, Professor of Biological Sciences, Academic Lead, CPD, Munster Technological University (MTU), MTU Teaching and Learning Unit (https://www.cit.ie/biologicalsciences.staff.jimo_mahony, https://www.jimomahony.net/)
.
.
🔸6. Dr. Deirdre Ryan (in the middle), Director of Quality, MIC, Quality and micro-credentials, Mary Immaculate College (https://www.mic.ul.ie/staff/521-deirdre-ryan)
.
.
🔸7. Dr. Katherine Whitehurst (in the middle), Director, Learning Enhancement & Academic Development (LEAD), Mary Immaculate College (https://www.mic.ul.ie/staff/4189-katherine-whitehurst)
.
.
.
For this special occasion, we would like to sincerely thank Dr. Cathal de Paor (who also co-led our WP2 and led the MIC team in the project) for his warm welcome, support, and effective arrangement of the program. We would also like to sincerely thank Dr. Kathleen Horgan and her family for their warm welcome and the short tour. 😊🙏
.
.